วันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558

ยูเนียน อินเตอร์เซกชันเเละคอมพลีเมนต์ของเซต


ยูเนียน (Union)
ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต ยูเนียนกับเซต คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต หรือ เซต หรือทั้ง และ สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์  B
ตัวอย่างเช่น
A ={1,2,3}
B= {3,4,5}

 A  B = {1,2,3,4,5} อ่านเพิ่มเติม


การให้เหตุผลเเบบอุปนัย


การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป

           การหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น  ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง  เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ ดังนั้นข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล  หลักฐานและข้อเท็จจริงที่นำมาอ้าง อ่านเพิ่มเติม

การให้เหตุผลเเบบนิรนัย


การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด อ่านเพิ่มเติม

จำนวนจริง


จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่

เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I  อ่านเพิ่มเติม

สมบัติจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกเเละการคูณ


สมบัติของจํานวนจริง คือ การนําจํานวนจริงใด ๆ มากระทําตอกันในลักษณะ เชน
การบวก การลบ การคูณ การหาร หรือกระทําดวยลักษณะพิเศษที่กําหนดขึ้น แลวมีผลลัพธที่
เกิดขึ้นในลักษณะหรือทํานองเดียวกัน สมบัติที่ใชในการบวก การลบ การคูณ และการหาร อ่านเพิ่มเติม

ฟังก์ชัน


คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง

(การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d อ่านเพิ่มเติม


ฟังก์ชันขั้นบันได


ฟังก์ชันขั้นบันได คือฟังก์ชันบนจำนวนจริงซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างฟังก์ชันคงตัวจากโดเมนที่แบ่งออกเป็นช่วงหลายช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะเป็นส่วนของเส้นตรงหรือรังสีในแนวราบเป็นท่อน ๆ ตามช่วง ในระดับความสูงต่างกัน อ่านเพิ่มเติม


เซต


การเขียนเซต
1. เขียนแบบแจกแจงสมาชิก (Tabular Form) เป็นการเขียนเซตโดยบรรจุสมาชิกทั้งหมดของเซตลงในวงเล็บปีกกา และระหว่างสมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,)
เช่น {A,B,C} หรือ {1, 2, 3} เป็นต้น

(หมายเหตุ: ถ้าเซตมีจำนวนสมาชิกมากมาย เราใช้ “…” แทนสมาชิกที่เหลือ) อ่านเพิ่มเติม